วันศุกร์ที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2556

โครงการ e-Learning กับการเรียนการสอนในระดับประถมศึกษา


ชื่อโครงการ    e-Learning  กับการเรียนการสอนในระดับประถมศึกษา
ผู้รับผิดชอบโครงการ    นางสาวนุชจรินทร์  แสนสุภา
ที่ปรึกษาโครงการ   รองศาสตราจารย์ ดร.ไชยยศ เรืองสุวรรณ

หลักการและเหตุผล
       e-Learning คือ การเรียน การสอนในลักษณะ หรือรูปแบบใดก็ได้ ซึ่งการถ่ายทอดเนื้อหานั้น กระทำผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น ซีดีรอม เครือข่ายอินเทอร์เน็ต อินทราเน็ต เอ็กซ์ทราเน็ต หรือ ทางสัญญาณโทรทัศน์ หรือ สัญญาณดาวเทียม (Satellite) ฯลฯ เป็นต้น ซึ่งการเรียนลักษณะนี้ได้มีการนำเข้าสู่ตลาดเมืองไทยในระยะหนึ่งแล้ว เช่น คอมพิวเตอร์ช่วยสอนด้วยซีดีรอม, การเรียนการสอนบนเว็บ (Web-Based Learning), การเรียนออนไลน์ (On-line Learning) การเรียนทางไกลผ่านดาวเทียม หรือ การเรียนด้วยวีดีโอผ่านออนไลน์ เป็นต้น ในปัจจุบัน คนส่วนใหญ่มักจะใช้คำว่า e-Learning กับการเรียน การสอน หรือการอบรม ที่ใช้เทคโนโลยีของเว็บ (Web Based Technology) ในการถ่ายทอดเนื้อหา รวมถึงเทคโนโลยีระบบการจัดการหลักสูตร (Course Management System) ในการบริหารจัดการงานสอนด้านต่างๆ โดยผู้เรียนที่เรียนด้วยระบบ e-Learning นี้สามารถศึกษาเนื้อหาในลักษณะออนไลน์ หรือ จากแผ่นซีดี-รอม ก็ได้ และที่สำคัญอีกส่วนคือ เนื้อหาต่างๆ ของ e-Learning สามารถนำเสนอโดยอาศัยเทคโนโลยีมัลติมีเดีย (Multimedia Technology) และเทคโนโลยีเชิงโต้ตอบ (Interactive Technology)
       คำว่า e-Learning นั้นมีคำที่ใช้ได้ใกล้เคียงกันอยู่หลายคำเช่น Distance Learning (การเรียนทางไกล) Computer based training (การฝึกอบรมโดยอาศัยคอมพิวเตอร์ หรือเรียกย่อๆว่า CBT) online learning (การเรียนทางอินเตอร์เน็ต) เป็นต้น ดังนั้น สรุปได้ว่า ความหมายของ e-Learning คือ รูปแบบของการเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยอาศัยเครือข่ายคอมพิวเตอร์ หรือสื่ออิเลคทรอนิกส์ในการถ่ายทอดเรื่องราว และเนื้อหา โดยสามารถมีสื่อในการนำเสนอบทเรียนได้ตั้งแต่ 1 สื่อขึ้นไป และการเรียนการสอนนั้นสามารถที่จะอยู่ในรูปของการสอนทางเดียว หรือการสอนแบบปฏิสัมพันธ์ได้
       ผู้ศึกษาจึงสนใจที่จะศึกษาเรื่อง  e-Learning กับการเรียนการสอนในระดับประถมศึกษา

จุดมุ่งหมาย
1.       เพื่อศึกษาความหมายของ e-Learning  ขอบข่ายของe-Learning กับการเรียนการสอน ประเภทของ e-Learning กับการเรียนการสอน ประโยชน์ e-Learning กับการเรียนการสอน 
            2.       เพื่อศึกษาหลักการและทฤษฎีที่รองรับการใช้ e-Learning กับการเรียนการสอน ทฤษฎีการเรียนรู้  ทฤษฎี  การสื่อสาร  และทฤษฎีระบบ
             3.       เพื่อศึกษาคุณภาพของ e-Learning ที่นำมาใช้ในการเรียนการสอน
             4.       เพื่อสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับการใช้ e-Learning กับการเรียนการสอน ของนักการศึกษาและผู้เรียน              ระดับประถมศึกษา

วิธีการดำเนินการ
   
การดำเนินการศึกษาค้นคว้าผู้จัดทำโครงการได้ดำเนินการดังนี้
1)      ขออนุมัติโครงการ
ดำเนินการตามความมุ่งหมายโครงการดำเนินการตั้งแต่วันที่  16  กุมภาพันธ์  พ.ศ.  2556   ถึงวันที่   25 กุมภาพันธ์  พ.ศ.  2556
2)      ดำเนินการตามความมุ่งหมายของโครงการ

วันที่
การดำเนินการ
16  กุมภาพันธ์  พ.ศ.  2556
ขอความเห็นชอบโครงการ
17  กุมภาพันธ์  พ.ศ.  2556  - 18  กุมภาพันธ์  พ.ศ.  2556
1.       ดำเนินการตามความมุ่งหมายของโครงการศึกษาความหมายของ      e-Learning ขอบข่ายของ e-Learning กับการเรียนการสอน  ประเภทของ e-Learning กับการเรียนการสอน ประโยชน์ e-Learning กับการเรียนการสอน 

19 กุมภาพันธ์  พ.ศ.  2556 –  20  กุมภาพันธ์  พ.ศ.  2556
2.       ศึกษาหลักการและทฤษฎีที่รองรับการใช้ e-Learning กับการเรียนการสอน ทฤษฎีการเรียนรู้  ทฤษฎีการสื่อสาร  และทฤษฎีระบบ

21  กุมภาพันธ์  พ.ศ.  2556  -  22 กุมภาพันธ์  พ.ศ.  2556
3.       ศึกษาคุณภาพของ e-Learning ที่นำมาใช้ในการเรียนการสอน
23 กุมภาพันธ์  พ.ศ.  2556   -  25 กุมภาพันธ์  พ.ศ.  2556
4.       เพื่อสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับการใช้ e-Learning กับการเรียนการสอน ของนักการศึกษาและผู้เรียนระดับประถมศึกษา
26  กุมภาพันธ์  พ.ศ.  2556
5.       สรุปข้อมูล / ทำรูปเล่ม
3   กุมภาพันธ์  พ.ศ.  2556
6.       นำเสนอ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.       ได้ทราบถึงความหมายของ e-Learning ขอบข่ายของ e-Learning กับการเรียนการสอน ประเภทของ e-Learning กับการเรียนการสอน ประโยชน์ e-Learning กับการเรียนการสอน 
            2.       เพื่อศึกษาหลักการและทฤษฎีที่รองรับการใช้ e-Learning กับการเรียนการสอน ทฤษฎีการเรียนรู้  ทฤษฎีการสื่อสาร  และทฤษฎีระบบ  
            3.       ได้ทราบถึงคุณภาพของ e-Learning ที่นำมาใช้ในการเรียนการสอน
            4.       ได้ทราบถึงความคิดเห็นเกี่ยวกับการใช้ e-Learning  กับการเรียนการสอน ของนักการศึกษาและผู้เรียนระดับประถมศึกษา



ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเรื่อง  e - Learning   กับการเรียนการสอนในระดับประถมศึกษา

        ในการศึกษา  เรื่อง e - Learning   กับการเรียนการสอนในระดับประถมศึกษา  ครั้งนี้ได้ดำเนินการเก็บรวบรวบข้อมูลจากครูผู้สอนและนักเรียน  โรงเรียนอนุบาลมหาสารคามและโรงเรียนหลักเมือง  อำเภอเมือง  จังหวัดมหาสารคาม  รวมทั้งสิ้นจำนวน  50  คน  สามารถจำแนกผลการวิเคราะห์ข้อมูลได้  ดังนี้

ตอนที่ 
1  ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
ตารางที่
  1  แสดงจำนวน  เพศ  สถานภาพ  ระดับการศึกษา  ของผู้ตอบแบบสอบถาม
          1.1  เพศ
เพศ
จำนวน
ร้อยละ
ชาย
19
38
หญิง
31
62
รวม
50
100
         
          1.2  สถานภาพ
สถานภาพ
จำนวน
ร้อยละ
ครู
5
10
นักเรียน
45
90
รวม
50
100
         
          1.3  ระดับการศึกษา
ระดับการศึกษา
จำนวน
ร้อยละ
ประถมศึกษาปีที่  4
30
60
ประถมศึกษาปีที่  5
15
30
ประถมศึกษาปีที่  6
0
0
อนุปริญญาหรือเทียบเท่า
0
0
ปริญญาตรีหรือเทียบเท่า
3
6
ปริญญาโท
2
4
สูงกว่าปริญญาโท
0
0
รวม
50
100

          จากตาราง 
1.1  พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงจำนวน  31  คน  คิดเป็นร้อยละ  62  และเพศชายจำนวน  19  คน  คิดเป็นร้อยละ  38  ของผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด  ตาราง  1.2  พบว่าผู้ที่ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นนักเรียนจำนวน  47  คน  คิดเป็นร้อยละ  94  และครูจำนวน  3  คน   คิดเป็นร้อยละ  6  ของผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด  ตาราง  1.3  พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีระดับการศึกษาอยู่ที่ชั้นประถมศึกษาปีที่  4  จำนวน  28  คน  คิดเป็นร้อยละ  56  ชั้นประถมศึกษาปีที่  5  จำนวน  19  คน  คิดเป็นร้อยละ  38  ปริญญาตรีหรือเทียบเท่าจำนวน  2  คน  คิดเป็นร้อยละ  4  และปริญญาโทจำนวน  1  คน  คิดเป็นร้อยละ  ของผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด 

ตอนที่ 
2  ข้อมูลเกี่ยวกับการพัฒนาบทเรียนออนไลน์  e - Learning  
ตารางที่  แสดงข้อมูลเกี่ยวกับการใช้งานโปรแกรม  และจำนวนครั้งในการใช้งาน
          2.1  การใช้โปรแกรมบทเรียน e - Learning  ในกลุ่มสาระการเรียนรู้

กลุ่มสาระการเรียนรู้
จำนวน
ร้อยละ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
13
26
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
4
8
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
2
4
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม  


กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี 
22
44
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
3
6
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา   
2
4
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
4
8
รวม
50
100
          
2.2  จำนวนครั้งในการใช้โปรแกรมบทเรียน e - Learning 
จำนวนครั้ง
จำนวน
ร้อยละ
นาน ๆ ครั้ง     
12
24
1  ครั้งต่อสัปดาห์                   
16
32
2  ครั้งต่อสัปดาห์         
13
26
3  ครั้งต่อสัปดาห์         
4
8
4  ครั้งต่อสัปดาห์                   


มากกว่า 4 ครั้งต่อสัปดาห์
5
10
อื่น ๆ
0
0
รวม
50
100

          ตาราง 
2.1  พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามมีการพัฒนาบทเรียนออนไลน์  e - Learning ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ดังนี้
            
          ตอนที่ 
3  ความพึงพอใจในการพัฒนาบทเรียนออนไลน์  e - Learning                                                

ตารางที่ 3  แสดงข้อมูลเกี่ยวกับความพึงพอใจในการความพึงพอใจในการการพัฒนาบทเรียนออนไลน์  e - Learning     ระดับความพึงพอใจ
             คะแนนเท่ากับ   5  มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด  
             คะแนนเท่ากับ   4   มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก                
             คะแนนเท่ากับ   3   มีความพึงพอใจอยู่ในระดับปานกลาง
             คะแนนเท่ากับ   2   มีความพึงพอใจอยู่ในระดับน้อย               
             คะแนนเท่ากับ   1   มีความพึงพอใจอยู่ในระดับน้อยที่สุด
          เกณฑ์การแปลผลข้อมูลมี  ดังนี้
             ระดับความความพึงพอใจ                ความหมาย
                4.51-5.00                   มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด
                3.51-4.50                   มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก          
                2.51-3.50                   มีความพึงพอใจอยู่ในระดับปานกลาง    
                1.51-2.50                   มีความพึงพอใจอยู่ในระดับน้อย          
                1.00-1.50                   มีความพึงพอใจอยู่ในระดับน้อยที่สุด
3.1  ส่วนนำบทเรียน     
รายการประเมิน
ระดับความพึงพอใจ
ค่าเฉลี่ย
S.D.
ระดับความพึงพอใจ
1.  ส่วนนำบทเรียน



  1.1  เร้าความสนใจ
3.94
0.93
มาก
  1.2  วัตถุประสงค์ชัดเจน
3.78
0.84
มาก
  1.3  เร้าความสนใจ
4.00
0.73
มาก
  1.4  วัตถุประสงค์ชัดเจน
3.84
0.84
มาก
เฉลี่ยโดยรวม
3.89
0.84
มาก
                                                                                     
รายการประเมิน
ระดับความพึงพอใจ
ค่าเฉลี่ย
S.D.
ระดับความพึงพอใจ
2.  เนื้อหาบทเรียน



  2.1  โครงสร้างเนื้อหาชัดเจน
4.08
0.67
มาก
  2.2  ความถูกต้องตามหลักสูตร
3.94
0.77
มาก
  2.3  สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
3.72
0.81

มาก
  2.4  ความยากง่ายเหมาะสมกับผู้เรียน
3.76
0.89
มาก
เฉลี่ยโดยรวม
3.88
0.79
มาก



รายการประเมิน
ระดับความพึงพอใจ
ค่าเฉลี่ย
S.D.
ระดับความพึงพอใจ
3.  การใช้ภาษา



  3.1  ใช้ภาษาถูกต้อง  เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน
4.08
0.80
มาก
  3.2  สื่อความหมายได้ชัดเจน 
3.80
0.88
มาก
เฉลี่ยโดยรวม
3.94
0.84
มาก

รายการประเมิน
ระดับความพึงพอใจ
ค่าเฉลี่ย
S.D.
ระดับความพึงพอใจ
4.  ระบบการเรียนการสอน



  4.1  เนื้อหามีความสัมพันธ์ต่อเนื่องกัน
3.84
0.84
มาก
  4.2  สนองความแตกต่างระหว่างบุคคล
3.80
0.88
มาก
  4.3  ลำดับเนื้อหาและแบบฝึกหัดได้เหมาะสม
3.72
0.90
มาก
  4.4  ความยาวของการนำเสนอแต่ละหน่วย/ตอนเหมาะสม
3.62
0.97
มาก
  4.5  การถ่ายทอดเนื้อหาน่าสนใจ
3.70
0.76
มาก
  4.6  การประเมินผลเหมาะสมและตรงตามวัตถุประสงค์
3.68
0.84
มาก
เฉลี่ยโดยรวม
3.73
0.87
มาก

รายการประเมิน
ระดับความพึงพอใจ
ค่าเฉลี่ย
S.D.
ระดับความพึงพอใจ
5.  ส่วนประกอบด้านมัลติมีเดีย



  5.1  ออกแบบหน้าจอเหมาะสม  ง่ายต่อใช้  สัดส่วนเหมาะสม
        สวยงาม
3.82
0.85
มาก
  5.2  ขนาดสี  ตัวอักษร  ชัดเจน  สวยงาม  อ่านง่ายเหมาะสมกับ  
        ผู้เรียน
3.84
0.98
มาก
  5.3  ภาพกราฟิกเหมาะสม  ชัดเจน  สอดคล้องกับเนื้อหา
3.70
0.86
มาก
  5.4  ใช้เสียงประกอบบทเรียนเหมาะสมชัดเจน
3.78
0.97
มาก
เฉลี่ยโดยรวม
3.78
0.91
มาก

รายการประเมิน
ระดับความพึงพอใจ
ค่าเฉลี่ย
S.D.
ระดับความพึงพอใจ
6.  ปฎิสัมพันธ์และการให้ผลป้อนกลับ



  6.1  โปรแกรมบทเรียนมีการโต้ตอบกับผู้เรียนอย่างสม่ำเสมอ
3.82
1.02
มาก
  6.2  ผลป้อนกลับมีความหลากหลายและเหมาะสม
3.92
1.12
มาก
  6.3  มีกิจกรรมที่สามารถตรวจสอบความเข้าใจของผู้เรียน  (ที่ทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีความหมาย)
3.72
1.05
มาก
เฉลี่ยโดยรวม
3.70
1.06
มาก
รายการประเมิน
ระดับความพึงพอใจ
ค่าเฉลี่ย
S.D.
ระดับความพึงพอใจ
7.  ความรู้ความเข้าใจ



  7.1  ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาวิชามากขึ้น
3.86
0.88
มาก
  7.2  ผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อความรู้ที่ได้รับ
3.66
1.02
มาก
  7.3  มีการให้ผลป้อนกลับในลักษณะการอธิบายเพิ่มเติม
3.56
0.99
มาก
เฉลี่ยโดยรวม
3.70
0.96
มาก


รายการประเมิน
ระดับความพึงพอใจ
ค่าเฉลี่ย
S.D.
ระดับความพึงพอใจ
8.  ความรู้ความเข้าใจ



  8.1  ช่วยให้มีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาวิชามากขึ้น
3.64
1.01
มาก
เฉลี่ยโดยรวม
3.64
1.01
มาก

                                                                                                                                                                                                                                               

                                                                                                                                                                                                                                       

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น